โคลนนิ่ง Linux, Windows ด้วย Clonezilla – ตอนที่ 3 restore ไฟล์ image

หลังจากที่สร้าง image ด้วย Clonezilla เรียบร้อยแล้ว ตอนที่ 3 นี้จะทดลอง restore ไฟล์ image ที่สร้างได้ลงบนเครื่องอื่นๆ

คำเตือน การ restore ไฟล์ image จะเป็นการลบแล้วเขียนข้อมูลลงบนดิสก์ของเครื่อง ทำให้ไฟล์ข้อมูลทั้งหมดที่มีอยู่เสียหายได้

ในที่นี้จะเป็นการ restore ไฟล์ image จาก Samba Server ที่ใช้เก็บไฟล์ตอนทำ image

Continue reading “โคลนนิ่ง Linux, Windows ด้วย Clonezilla – ตอนที่ 3 restore ไฟล์ image”

โคลนนิ่ง Linux, Windows ด้วย Clonezilla – ตอนที่ 2 สร้างไฟล์ image

ในตอนนี้จะแสดงตัวอย่างการใช้ Clonezilla live บู๊ตเพื่อสร้างไฟล์ image ของเครื่องต้นแบบที่ติดตั้ง Windows 7

แล้วเก็บไฟล์ image ที่ได้ไว้บน Samba File Server เพื่อสามารถใช้ restore ได้บนหลายๆ เครื่องพร้อมๆ กัน

ตัวอย่างหน้าจอเครื่อง Windows 7 ที่จะใช้เป็นต้นแบบ มีสองไดร์ฟคือ C และ D

Continue reading “โคลนนิ่ง Linux, Windows ด้วย Clonezilla – ตอนที่ 2 สร้างไฟล์ image”

โคลนนิ่ง Linux, Windows ด้วย Clonezilla – ตอนที่ 1 แนะนำโปรแกรม

งานอย่างหนึ่งของผู้ดูแลระบบ ในการดูแลเครื่องไม่ว่าจะเพิ่งซื้อเครื่องใหม่เข้ามาในองค์กร หรือเมื่อใช้งานเครื่องไปนานๆ แล้วพบปัญหาผู้ใช้งานบ่นว่าช้า หรือมีโปรแกรมเวอร์ชั่นใหม่ออกมา คือการติดตั้งระบบปฏิบัติการ (OS) ใหม่

หากมีแค่ไม่กี่เครื่อง ผู้ดูแลระบบก็สามารถติดตั้งทีละเครื่อง ค่อยๆ จัดการไปได้ไม่ลำบากนัก แต่ถ้ามีเครื่องเป็นจำนวนหลักสิบหลักร้อย การที่จะทำทีละเครื่องคงเป็นงานที่ไม่สนุกนัก ใช้เวลานานมาก เพราะไม่ใช่แค่ลง OS เท่านั้น ยังต้องปรับปรุง update patch ติดตั้งโปรแกรมต่างๆ เพิ่มเติมอีก

สมมติว่าเครื่องทั้งหมดเป็นเครื่องยี่ห้อ รุ่นเดียวกัน เสียบการ์ด hardware ต่างๆ ในเครื่องเหมือนกัน ขนาดฮาร์ดดิสก์เท่ากัน วิธีการหนึ่งที่ช่วยให้งานง่ายขึ้นคือลง OS และโปรแกรมต่างๆ ให้เสร็จบนเครื่องเดียวก่อน แล้วสร้างเป็น images ไว้ แล้วค่อยเอา images ที่ได้ไป restore หรือโคลนลงบนเครื่องอื่นๆ โปรแกรมประเภทนี้มีหลากหลายโปแกรมทั้งแบบ ฟรีแวร์และจ่ายเงินซื้อ เทคนิค ข้อจำกัดของแต่ละโปรแกรมก็แตกต่างกันไป

ในที่นี้จะขอแนะนำ Clonezilla สำหรับโคลนนิ่งดิสก์ ซึ่งสามารถนำไปโคลนนิ่งเครื่องได้ทั้ง Windows, Linux หลักการทำงานจะเหมือนกับโปรแกรมโคลนนิ่งทั่วไป คือสร้าง images จากเครื่องต้นแบบที่ลงสร็จเรียบร้อยแล้ว แล้วนำ images ที่ได้ ไป restore หรือโคลนลงบนเครื่องอื่นๆ

Continue reading “โคลนนิ่ง Linux, Windows ด้วย Clonezilla – ตอนที่ 1 แนะนำโปรแกรม”

คำสั่งเปิด ปิดไฟ LED ของ Thinkpad

ถือว่าสนุกๆ ครับ บทความนี้จะแสดงการใช้คำสั่งเปิด/ปิด ไฟ LED ที่มีอยู่บนเครื่อง notebook รุ่น Thinkpad

ลองเล่นกันดูครับ บางคนอาจนำไปประยุกต์ใช้ในการแจ้งเตือนต่างๆ เข่นมีอีเมล์ใหม่เข้ามาได้

Continue reading “คำสั่งเปิด ปิดไฟ LED ของ Thinkpad”

ทดสอบ Linux Mint 13 บน Lenovo Thinkpad X230

วันนี้ได้ notebook มาใหม่ ยี่ห้อ Lenovo รุ่น Thinkpad X230 โดยไม่มี Windows ติดตั้งมาด้วย เลยลองนำมาทดสอบติดตั้งลีนุกซ์ดู โดยใช้ Linux Mint 13 ผลการใช้ทดสอบเป็นที่น่าประทับใจ เลยนำมาแสดงสิ่งที่ได้ พร้อมใช้งาน หลังการติดตั้งเลย เผื่อเป็นทางเลือกในการตัดสินใจ

หมายเหตุ ผู้เขียนไม่มีจุดประสงค์ในการโฆษณาแต่อย่างใด และไม่ได้รับการสนับสนุนใดๆ ทั้งสิ้น จากผู้ผลิตหรือตัวแทนจำหน่ายของ Lenovo

Continue reading “ทดสอบ Linux Mint 13 บน Lenovo Thinkpad X230”

Linux Mint อีกทางเลือกสำหรับลีนุกซ์เดสก์ทอป

ได้คุยกับลูกค้าที่ได้เครื่องคอมพิวเตอร์มาใหม่ ในเครื่องติดตั้งมาเป็นลีนุกซ์ ซึ่งตัวลูกค้าเองก็ไม่เข้าใจหรอกว่ามันคืออะไร แต่บอกว่าก็สามารถใช้งานได้ตามปกติ เข้าเว็บ ดูหนัง ฟังเพลง พิมพ์งาน เพียงแต่หน้าตาของโปแกรมดูแปลกตาไปเท่านั้นเอง

ลองไปดูที่เครื่องแล้วก็พบว่าผู้ขายเครื่องติดตั้ง Linux Mint เวอร์ชั่นล่าสุดมาให้

ส่วนตัวไม่เคยได้ลองใช้ Linux Mint เลย แต่พอเห็นหน้าตาแล้ว น่าสนใจ เลยนำมาแนะนำเล่าสู่กันฟัง เผื่อท่านใด องค์กรไหน สนใจจะใช้ลีนุกซ์เป็นเดสก์ทอปอย่างจริงจัง จะได้ไปทดลองดูกัน

Continue reading “Linux Mint อีกทางเลือกสำหรับลีนุกซ์เดสก์ทอป”

ตั้งเวลาเครื่องให้ตรงมาตรฐานด้วย NTP

จากบทความ เปลี่ยนวันเวลาบนลีนุกซ์ด้วยคำสั่ง date นั้น เวลาที่ตั้งอาจคลาดเคลื่อนกับเวลามาตรฐานไปพอสมควร อาจผิดเป็นหน่วยนาที หรือวินาที ซึ่งบางระบบอาจไม่สามารถยอมรับความคลาดเคลื่อนขนาดนี้ได้

วิธีที่ดีที่สุดที่จะตั้งเวลาให้ตรงกับมาตรฐานจริงๆ คือต้องใช้ NTP
Continue reading “ตั้งเวลาเครื่องให้ตรงมาตรฐานด้วย NTP”

ใช้ yum ปรับปรุงเวอร์ชั่นของแพ็คเกจ

ทางทีมดูแลพัฒนา CentOS จะคอยดูแลปรับปรุงโปรแกรมและออกเวอร์ชั่นใหม่ตาม RedHat อยู่เสมอ ไฟล์แพ็คเกจเวอร์ชั่นใหม่นี้ จะถูกเก็บไว้ใน repos ชื่อ updates เพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถใช้ yum เข้ามาตรวจสอบและปรับปรุงโปรแกรมได้

ในที่นี้จะแนะนำวิธีการปรับปรุงโปรแกรมโดยใช้คำสั่ง yum ทั้งปรับปรุงเฉพาะโปรแกรม หรือปรับปรุงทุกโปรแกรมที่ติดตั้งบนเครื่องลีนุกซ์แล้ว

คำเตือน แนะนำให้ทดสอบในเครื่องลีนุกซ์ทดลองดูก่อน เพื่อดูผลกระทบการปรับปรุงเวอร์ชั่นของโปรแกรม

Continue reading “ใช้ yum ปรับปรุงเวอร์ชั่นของแพ็คเกจ”

เปลี่ยนคอนฟิก yum ให้มาใช้ repos ในไทย

หากต้องการใช้ yum ติดตั้งโปรแกรมเพิ่มเติม หรือปรับปรุงโปรแกรมเป็นเวอร์ชั่นใหม่ เราต้องใช้ repos ที่อยู่บนอินเตอร์เน็ต

ดีฟอลต์จากการติดตั้ง CentOS 6.2 จะมีคอนฟิก repos ติดตั้งมาด้วย โดยจะชี้ไปยังเว็บไซต์ mirrorlist.centos.org แสดงรายชื่อเว็บไซต์ repos ที่ให้บริการดาวน์โหลดไฟล์ rpm อีกที

แต่ข้อเสียของการใช้คอนฟิก repos แบบดีฟอลต์นี้ ในบางครั้งเราอาจต้องไปดาวน์โหลดไฟล์จากเว็บไซต์ที่อยู่ต่างประเทศ ทำให้ความเร็วที่ได้ค่อนข้างช้า

ในบทนี้ขอแนะนำวิธีเปลี่ยนคอนฟิก repos ของ yum ให้ชี้มายังเว็บไซต์ในประเทศไทย

Continue reading “เปลี่ยนคอนฟิก yum ให้มาใช้ repos ในไทย”

การใช้งานคำสั่ง yum ใน CentOS 6

ในบทความนี้จะอธิบายการใช้คำสั่ง yum เพื่อดูข้อมูล ค้นรายชื่อแพ็คเกจ การติดตั้ง การลบแพ็คเกจ และดูประวัติการแก้ไข

Continue reading “การใช้งานคำสั่ง yum ใน CentOS 6”