สร้างบู๊ตดิสก์ USB เพื่อติดตั้งลีนุกซ์ ด้วยคำสั่งบน Mac OS X

นับวันไดร์ฟซีดีหรือดีวีดีที่ติดมากับเครื่องจะหายากขึ้น โดยเฉพาะโน้ตบุ๊คที่มีขนาดเล็ก ที่ผู้ผลิตจะตัดออกไปเพื่อประหยัดพื้นที่ เพื่อให้ตัวเครื่องขนาดบางลง ทำให้หากเราต้องการสร้างแผ่นติดตั้งระบบปฎิบัติการเช่นลีนุกซ์จากไฟล์ iso ที่ดาวน์โหลดมา ก็ต้องไปหาซื้อตัวไดร์ฟดีวีดี external มาต่อเพิ่มเติม

เพื่อเป็นการทดแทน ปัจจุบันเครื่องรุ่นใหม่หลายรุ่นหลายยี่ห้อ ตั้งแต่โน้ตบุ๊ก เครื่อง PC จนถึงระดับเซิร์ฟเวอร์ จะรองรับการบู๊ตด้วยดิสก์ USB เพื่อใช้ในการติดตั้งระบบปฏิบัติการแทน

ในที่นี้ลองมาดูการใช้คำสั่งบนเครื่อง Mac OS X เพื่อสร้างดิสก์ USB เพื่อบู๊ตติดตั้ง CentOS 7 จากไฟล์ iso ที่ดาวน์โหลดมา

Continue reading “สร้างบู๊ตดิสก์ USB เพื่อติดตั้งลีนุกซ์ ด้วยคำสั่งบน Mac OS X”

การสร้างเครื่องเสมือนใน VirtualBox

หลังจาก  ติดตั้ง VirtualBox บน Windows 7 เรียบร้อยแล้ว มาดูตัวอย่างการสร้างเครื่องเสมือนหรือเครื่องจำลอง (Virtual Machine) ใน VirtualBox กัน

Continue reading “การสร้างเครื่องเสมือนใน VirtualBox”

CentOS 7 ปรับปรุงซอฟต์แวร์ให้เป็นเวอร์ชันล่าสุด

ทุกครั้งหลังการติดตั้งลีนุกซ์หรือระบบปฏิบัติการอื่นๆ ก่อนที่จะเริ่มการคอนฟิกหรือลงโปรแกรมอื่นๆ เพิ่มเติม แนะนำให้ปรับปรุง (update) ซอฟต์แวร์ที่ติดตั้งไปแล้วให้เป็นเวอร์ชันล่าสุดก่อน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ความปลอดภัย โดยรวมให้กับระบบ

Continue reading “CentOS 7 ปรับปรุงซอฟต์แวร์ให้เป็นเวอร์ชันล่าสุด”

จัดการเซอร์วิสด้วย systemd ใน CentOS 7

สิ่งหนึ่งที่เปลี่ยนไปใน CentOS 7 หรือ Red Hat Enterprise 7 คือเปลี่ยนมาใช้ systemd ในการบริหารจัดการโปรเซสและอีกหลายสิ่งบนลีนุกซ์ แทนที่การใช้ init หรือ upstart ในเวอร์ชั่นก่อน

ผลที่เห็นอย่างชัดเจนคือทำให้เครื่องบู๊ตได้เร็วมากขึ้น เพราะ systemd จะจัดการให้แต่ละโปรเซสหรือเซอร์วิสสตาร์ตได้พร้อมๆ กัน แทนที่จะรันทีละโปรเซส

Continue reading “จัดการเซอร์วิสด้วย systemd ใน CentOS 7”

รีวิวการติดตั้ง CentOS 7

หลังจาก Red Hat Enterprise 7 ออกมาได้ไม่นาน ทีมงาน CentOS ก็ได้พัฒนา CentOS 7 ออกมาด้วยคุณสมบัติที่เหมือนกัน

ในที่นี้ขอริวิวการติดตั้ง  เพื่อเป็นข้อมูลเบื้องต้นว่ามีอะไรเปลียนไปบ้างในตอนติดตั้ง

Continue reading “รีวิวการติดตั้ง CentOS 7”

คอนฟิกหลาย IP Address ในพอร์ตเดียวกันบนลีนุกซ์

บางครั้งเราต้องคอนฟิกหลาย IP Address ในพอร์ตแลนเดียวกัน  (หรือเรียกว่าสร้าง Virtual IP เพิ่มเติม หรือคอนฟิก Secondary IP ในอุปกรณ์ Cisco)

ใบบทความนี้ จะอธิบายวิธีคอนฟิกทั้งการเพิ่ม และลบ IP บนลีนุกซ์

Continue reading “คอนฟิกหลาย IP Address ในพอร์ตเดียวกันบนลีนุกซ์”

yum แพ็คเกจบน CentOS 6 ได้มากขึ้นด้วย EPEL

หากเทียบจำนวนชุดโปรแกรม (packages) ที่จัดทำเป็นไฟล์ rpm พร้อมให้ติดตั้งด้วย rpm หรือ yum แล้ว จำนวนไฟล์หรือ packages ของ Fedora จะมีมากกว่า CentOS มาก ยิ่งเวอร์ชั่นใหม่ๆ  ของ Fedora ไม่ว่าเราอยากจะติดตั้งอะไร yum install แทบจะได้หมด โดยไม่จำเป็นต้องติดตั้ง repo เพิ่มเลย

ส่วนผู้ใช้ CentOS หรือ RedHat Enterprise ต้องใช้ความพยายามมากกว่า ในการติดตั้งบางโปรแกรมที่ไม่มีอยู่ในแผ่นดีวีดีติดตั้ง อาจต้องไปดาวน์โหลดไฟล์ rpm จากเว็บไซต์หลายๆ แห่ง

เพื่อช่วยให้งานง่ายขึ้น ทีมงานที่พัฒนา Fedora จึงได้จัดทำ repo ขึ้นมาชื่อว่า EPEL (ย่อมาจาก Extra Packages for Enterprise Linux) สำหรับผู้ใช้ RedHat Enterprise, CentOS  เพื่อให้ผู้ใช้ได้ติดตั้งชุดโปรแกรม หรือ packages ได้มากขึ้น โดยอิงกับชุดโปรแกรมที่มีอยู่ใน Fedora

Continue reading “yum แพ็คเกจบน CentOS 6 ได้มากขึ้นด้วย EPEL”

ลืม root password บนลีนุกซ์ ต้องแก้ไขอย่างไร – ตอนที่ 2 แก้โดยใช้แผ่นดีวีดีติดตั้ง

หลังจากที่ได้นำเสนอวิธีแก้ไขตามบทความ ลืม root password บนลีนุกซ์ ต้องแก้ไขอย่างไร – ตอนที่ 1 แก้โดย single user mode ไปแล้วนั้น

ถ้ามีการใส่คอนฟิก password ใน GRUB แล้วเราเองก็ไม่ทราบหรือลืม password นี้ไปด้วย ต้องใช้อีกวิธีในการแก้ไข คือใช้แผ่นดีวีดีติดตั้ง

Continue reading “ลืม root password บนลีนุกซ์ ต้องแก้ไขอย่างไร – ตอนที่ 2 แก้โดยใช้แผ่นดีวีดีติดตั้ง”