เลือกเวอร์ชั่น CentOS ที่จะใช้ติดตั้ง

ข้อดีของลีนุกซ์ คือเราต้องการใช้ distribution ไหน เวอร์ชั่นเท่าไร ก็เข้าเว็บไซต์ (mirror site) เพื่อเลือกดาวน์โหลดไฟล์มาติดตั้งได้

โดยไฟล์ที่ดาวน์โหลดมาส่วนใหญ่จะเป็นไฟล์ ISO โหลดเสร็จสามารถนำมาเขียนใส่แผ่นซีดี หรือดีวีดี เพื่อใช้ติดตั้งบนเครื่องต่างๆ ได้

สำหรับ CentOS แนะนำให้เลือก CentOS 6 เวอร์ชั่นล่าสุด 6.2 เนื่องด้วยการพัฒนาปรับปรุงซอฟต์แวร์ต่างๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ความปลอดภัยของระบบมากขึ้น

Continue reading “เลือกเวอร์ชั่น CentOS ที่จะใช้ติดตั้ง”

ติดตั้ง CentOS 6.2 : หน่วยความจำขั้นต่ำที่ต้องใช้

จาก Release Notes ของ CentOS 6.2 ในส่วนของ Known Issues หน่วยความจำขั้นต่ำ (minimum memory requirement) ของเครื่องที่จะติดตั้ง CentOS 6.2 ได้นั้น ต้องมีขนาด 392 MB
Continue reading “ติดตั้ง CentOS 6.2 : หน่วยความจำขั้นต่ำที่ต้องใช้”

คำสั่ง fciv บน Windows เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของไฟล์ (md5sum, sha1sum) ที่ดาวน์โหลดมา

ไฟล์โปรแกรมของลีนุกซ์ส่วนใหญ่ จะมีการตรวจสอบ checksum ควบคู่ไปด้วย โดยอาจเป็นไฟล์ให้ดาวน์โหลดแยกต่างหาก หรือใส่ไว้ใน Release Notes, Readme

ทั้งนี้ก็เพื่อให้ผู้ใช้งาน สามารถตรวจสอบความถูกต้องของไฟล์ที่โหลดมาได้ เพราะบางไฟล์อาจมีขนาดใหญ่มาก เช่นไฟล์ ISO สำหรับติดตั้งลีนุกซ์ เราอาจดาวน์โหลดมาไม่ครบ หรือถ้าไปโหลดจาก mirror site ที่ไม่น่าไว้ว่างใจ อาจมีการแก้ไขไฟล์ระหว่างทางได้

ที่เคยใช้ส่วนใหญ่ก็เป็นคำสั่งบนลีนุกซ์ ไม่ว่าจะเป็น md5sum หรือ sha1sum

แต่วันนี้ได้เจอคำสั่ง fciv เพื่อใช้ตรวจสอบ checksum ของไฟล์ บน Windows

Continue reading “คำสั่ง fciv บน Windows เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของไฟล์ (md5sum, sha1sum) ที่ดาวน์โหลดมา”

ติดตั้ง policycoreutils-python เพื่อจัดการ SELinux

ตั้งใจไว้ว่าต่อไปนี้จะพยายามใช้ SELinux เพื่อเพิ่มความปลอดภัยของเซิร์ฟเวอร์ลีนุกซ์

แต่ในบางครั้งจำเป็นต้องแก้ไข policy ของ SELinux เพื่อเหตุผลบางประการ เช่นที่เคยเขียนถึงไปแล้ว แก้ไข Joomla Directory Permissions Unwritable บนลีนุกซ์ที่เปิด SELinux

โปรแกรมที่ใช้แก้ไข policy นอกจาก chcon แล้ว ยังมีอีกหลายโปรแกรม เช่น audit2allow และ semanage ที่ใช้กัน

สำหรับ Fedora 16 ต้องติดตั้งไฟล์ rpm เพิ่มเติม คือ policycoreutils-python ซึ่งจะมีโปรแกรม (เขียนด้วย python) เพื่อใช้จัดการ SELinux ได้

Continue reading “ติดตั้ง policycoreutils-python เพื่อจัดการ SELinux”

คอนฟิก Squid Proxy Server ให้ตรวจสอบ user, password จาก LDAP

จากบทความ คอนฟิก Squid Proxy Server ให้ผู้ใช้ใส่ user, password ก่อนเข้าเว็บ

เป็นการตรวจสอบ user จาก Local Password หรือไฟล์ /etc/passwd, /etc/shadow ผ่าน Linux PAM ที่อยู่บนเครื่อง proxy server เอง

แต่ถ้าบริษัทหรือองค์กรของเรามีการเก็บ user, password อยู่บนเซิร์ฟเวอร์เครื่องอื่น เช่นเก็บรวมเป็นศูนย์กลางบน LDAP Server เราก็สามารถคอนฟิก Squid Proxy Server ให้ตรวจสอบ user, password จาก LDAP Server ได้

Continue reading “คอนฟิก Squid Proxy Server ให้ตรวจสอบ user, password จาก LDAP”

คอนฟิก Squid Proxy Server ให้ผู้ใช้ใส่ user, password ก่อนเข้าเว็บ

บทความนี้อธิบายวิธีการคอนฟิก Squid Proxy Server เพื่อให้ผู้ใช้งานต้องใส่ user, password ก่อนถึงจะใช้งานอินเตอร์เน็ตได้

โดยจะตรวจสอบ user, password กับ Local Password หรือไฟล์ /etc/passwd, /etc/shadow ผ่าน Linux PAM ที่อยู่บนเครื่อง Proxy Server เอง

Continue reading “คอนฟิก Squid Proxy Server ให้ผู้ใช้ใส่ user, password ก่อนเข้าเว็บ”

คอนฟิกหลายชื่อเว็บไซต์บนเว็บเซิร์ฟเวอร์เครื่องเดียวด้วย Apache VirtualHost

วิธีการหนึ่งสำหรับคนที่ต้องการมีเว็บไซต์บนอินเตอร์เน็ตเป็นของตัวเอง คือใช้บริการ Web Hosting

เคยสงสัยไหมว่า ผู้ให้บริการต้องมีเซิร์ฟเวอร์กี่เครื่อง เพื่อจะรองรับเว็บไซต์หรือโดเมนเนมของลูกค้าจำนวนมากได้

โดยทั่วไป ผู้ให้บริการ Web Hosting อาจมีเซิร์ฟเวอร์เพียงไม่กี่เครื่องเท่านั้น โดยแต่ละเครื่องสามารถคอนฟิกเพื่อให้รองรับจำนวนเว็บไซต์ได้เป็นหลักร้อย หลักพัน หรือเคยได้ยินมาว่าบางที่ ที่ค่าบริการถูกมากๆ มีจำนวนเว็บไซต์ต่อเครื่องถึงหลักหมื่นเลยทีเดียว

วิธีการที่คอนฟิกเว็บเซิร์ฟเวอร์เพื่อให้สามารถรองรับได้หลายเว็บไซต์หรือโดเมน โดยพื้นฐานแล้วก็คือการใช้ VirtualHost นั่นเอง

บทความนี้จะอธิบายวิธีการคอนฟิก Apache VirtualHost บน Fedora 16

Continue reading “คอนฟิกหลายชื่อเว็บไซต์บนเว็บเซิร์ฟเวอร์เครื่องเดียวด้วย Apache VirtualHost”

แก้ไข Joomla Directory Permissions Unwritable บนลีนุกซ์ที่เปิด SELinux

เมื่อลูกค้าขอให้ดูเรื่องความปลอดภัยของเว็บไซต์เป็นพิเศษ เลยต้องจัดเต็มซะหน่อย

จากที่เคยปิดคุณสมบัติ SELinux เพื่อแก้ปัญหา Directory Permissions Unwritable มาแล้วในบทความ แก้ไข permission ไฟล์หลังการติดตั้ง Joomla 2.5

ครั้งนี้ขอปรับปรุงใหม่ ด้วยการเปิดคุณสมบัติ SELinux ไว้ แล้วแก้ไข security context ของไดเร็คทอรีที่มีปัญหา เพื่อให้สามารถเขียนไฟล์ได้

Continue reading “แก้ไข Joomla Directory Permissions Unwritable บนลีนุกซ์ที่เปิด SELinux”

แก้ไข permission ไฟล์หลังการติดตั้ง Joomla 2.5

หลัง ติดตั้ง Joomla 2.5 บนลีนุกซ์ เสร็จเรียบร้อยแล้ว ต้องมีการแก้ไข permission ของไฟล์และไดเร็คทอรีที่ติดตั้งให้ถูกต้อง เพื่อให้สามารถใช้งานผ่านเว็บ ไม่ว่าจะเป็นการติดตั้งโมดูลใหม่ plugin template การเพิ่มรูป การแก้ไขข้อมูล

Continue reading “แก้ไข permission ไฟล์หลังการติดตั้ง Joomla 2.5”

ติดตั้ง Joomla 2.5 บนลีนุกซ์

คิดจะตั้งเว็บไซต์ คิดถึง Joomla

ติดตั้งง่าย ใช้งานง่าย สามารถจัดการ แก้ไขข้อมูลไม่ว่าจะเป็นเนื้อหา รูปภาพ สามารถทำผ่านหน้าเว็บได้ทั้งหมด

ด้วยคุณสมบัติที่หลากหลาย และที่สำคัญเป็นมิตรต่อ Search Engine (SEO Friendly) เพิ่มโอกาสที่ผู้สนใจหรือลูกค้า สามารถค้นหาข้อมูลแล้วเจอเว็บของเราได้มากขึ้น

มาลองดูวิธีการติดตั้งง่ายๆ กันบนลีนุกซ์

Continue reading “ติดตั้ง Joomla 2.5 บนลีนุกซ์”