ติดตั้ง Cacti บน Fedora 11 ตอนที่ 1

Cacti จัดเป็นโปรแกรมทางด้าน Network Management อย่างหนึ่ง คุณสมบัติหลักๆ คือสามารถไปดึงค่าต่างๆ จากอุปกรณ์ network ไม่ว่าจะเป็น Server, Router, Switch ผ่านทาง Poller  นำข้อมูลมาเก็บไว้ใน Data Storage  แล้วสามารถนำค่ามา plot เป็นกราฟ โดยใช้ RRDTool (ซึ่งเป็นโปรแกรมสร้างกราฟเดียวกันกับ MRTG)

ในตอนที่ 1 จะอธิบายวิธีการติดตั้งไฟล์ที่จำเป็นและ Cacti บน Fedora 11 (x86_64) โดยทดสอบบนเครื่องที่ ติดตั้ง Fedora 11 แบบประหยัดพื้นที่สุด

Continue reading “ติดตั้ง Cacti บน Fedora 11 ตอนที่ 1”

ติดตั้ง PHP Module: snmp

SNMP เป็นโปรโตคอลมาตรฐานสำหรับการบริหารจัดการอุปกรณ์ทางด้านเครือข่าย คือสามารถที่จะดึงค่าที่ต้องการ หรือคอนฟิกค่าของอุปกรณ์ได้

การที่จะสามารถเขียน PHP ให้เรียกใช้ฟังก์ชั่นเกี่ยวกับ snmp ได้ ต้องติดตั้งโมดูล php-snmp

Continue reading “ติดตั้ง PHP Module: snmp”

ติดตั้ง PHP Module เพิ่มบน Fedora 11

จากบทความ ติดตั้ง Apache, PHP บน Fedora 11 เราได้ติดตั้ง เว็บเซิร์ฟเวอร์ Apache และ PHP เพื่อให้สามารถเขียนเว็บเพจโดยใช้ภาษา PHP ได้ แต่ถ้าทำเพียงเท่านี้ จะะสามารถเรียกใช้ฟังก์ชั่นแค่พื้นฐานเท่านั้น  ถ้าต้องการใช้ฟังก์ชั่นอื่นๆ ด้วย เช่นเชื่อมต่อเข้ากับ MySQL เราจำเป็นต้องติดตั้ง PHP Module เพิ่มเติม

ในบทความนี้อธิบายวิธีการตรวจสอบและติดตั้งโมดูลเพิ่มเติม  ตัวอย่างจะเป็นการติดตั้งโมดูล MySQL เพื่อให้สามารถเขียน PHP เชื่อมเข้ากับฐานข้อมูลได้

Continue reading “ติดตั้ง PHP Module เพิ่มบน Fedora 11”

แก้ไขคอนฟิก iptables firewall rule

การติดตั้งลีนุกซ์ส่วนใหญ่รวมทั้ง fedora จะติดตั้ง และเปิดคุณสมบัติ firewall มาด้วย ซึ่งโดยดีฟอลต์แล้ว จะอนุญาตให้ packet ขาเข้า (INPUT) ได้เฉพาะ ping และ SSH เท่านั้น

ลีนุกซ์จะใช้โปรแกรมที่ชื่อ iptables ทำหน้าที่เป็น firewall และใช้คำสั่งนี้ในการแสดงและแก้ไขคอนฟิก (rules) ของ firewall

Continue reading “แก้ไขคอนฟิก iptables firewall rule”

รัน mysql_secure_installation ขึ้น Read-only file system

หลังจากติดตั้ง MySQL แล้ว แนะนำให้รัน mysql_secure_installation เพื่อเปลี่ยนคอนฟิกเริ่มต้นเช่น password ในการเรียกใช้ database

แต่ถ้ารันคำสั่งนี้ในขณะที่อยู่ในไดเร็คทอรีที่ไม่สามารถเขียนไฟล์ได้ (read-only) เช่นอยู่ในไดเร็คทอรีที่ mount CD หรือ DVD  จะขึ้น error ตามด้านล่าง

[root@fc11-64min Packages]# pwd
/media/Packages
[root@fc11-64min Packages]# mysql_secure_installation
touch: cannot touch `.my.cnf.2100': Read-only file system
touch: cannot touch `.mysql.2100': Read-only file system
chmod: cannot access `.my.cnf.2100': No such file or directory
chmod: cannot access `.mysql.2100': No such file or directory
 Continue reading "รัน mysql_secure_installation ขึ้น Read-only file system"

ติดตั้ง Apache, PHP บน Fedora 11

ในบทความนี้จะอธิบายวิธีการติดตั้งและคอนฟิก Apache บน Fedora 11 (x86_64) โดยทดสอบบนเครื่องที่ ติดตั้ง Fedora 11 แบบประหยัดพื้นที่สุด

Continue reading “ติดตั้ง Apache, PHP บน Fedora 11”

ติดตั้ง MySQL บน Fedora 11

ในบทความนี้จะอธิบายวิธีการติดตั้งและคอนฟิก MySQL บน Fedora 11 (x86_64) โดยทดสอบบนเครื่องที่ ติดตั้ง Fedora 11 แบบประหยัดพื้นที่สุด

หมายเหตุ Fedora 11 ปรับปรุงเวอร์ชั่นมาใช้ MySQL เวอร์ชั่น 5.1 แล้ว

Continue reading “ติดตั้ง MySQL บน Fedora 11”

ติดตั้ง Fedora 11 แบบประหยัดพื้นที่สุด

บทความนี้จะแนะนำวิธีการติดตั้ง Fedora 11 แบบใช้พื้นที่บนดิสก์น้อยที่สุด โดยจะเลือกลงโปรแกรม (Package) ที่จำเป็น แต่ยังสามารถนำไปติดตั้งโปรแกรมเพิ่มเติม เพื่อคอนฟิกทำหน้าที่เป็นเซิร์ฟเวอร์ต่างๆ ได้ต่อไป

Continue reading “ติดตั้ง Fedora 11 แบบประหยัดพื้นที่สุด”

ติดตั้ง rrdtool บน Fedora 11

จากแผ่นดีวีดี Fedora 11 ติดตั้งไฟล์ RPM ดังนี้

[root@fc11-64a ~]# mount /dev/scd0 /media
[root@fc11-64a ~]# cd /media/Packages/
[root@fc11-64a Packages]# rpm -i fontpackages-filesystem-1.20-2.fc11.noarch.rpm
[root@fc11-64a Packages]# rpm -i dejavu-fonts-common-2.29-2.fc11.noarch.rpm
[root@fc11-64a Packages]# cd ~
[root@fc11-64a ~]# umount /media/

ดาวน์โหลดไฟล์เพิ่มเติมจาก Fedora 11 (Everything) แล้วใช้คำสั่ง rpm เพื่อติดตั้ง

[root@fc11-64a ~]# rpm -i dejavu-lgc-sans-fonts-2.29-2.fc11.noarch.rpm
[root@fc11-64a ~]# rpm -i dejavu-lgc-sans-mono-fonts-2.29-2.fc11.noarch.rpm
[root@fc11-64a ~]# rpm -i dejavu-lgc-serif-fonts-2.29-2.fc11.noarch.rpm
[root@fc11-64a ~]# rpm -i dejavu-fonts-lgc-compat-2.29-2.fc11.noarch.rpm
[root@fc11-64a ~]# rpm -i rrdtool-1.3.7-1.fc11.x86_64.rpm

ข้อมูลอ้างอิง

เปรียบเทียบ RAID-0 จากคำสั่ง mdadm และ lvm ตอนที่ 3

ในตอนสุรปนี้ จะเพิ่มผลลัพธ์จากการรันคำสั่ง sysbench เพื่อทดสอบ fileio ทั้งการอ่านและเขียนไฟล์แบบ sequential, random

Continue reading “เปรียบเทียบ RAID-0 จากคำสั่ง mdadm และ lvm ตอนที่ 3”