เซ็ตฟอนต์ไทยใน PuTTY

บทความนี้ขอเสนอวิธีการเซ็ตฟอนต์ไทยในโปรแกรม PuTTY เพื่อให้สามารถแสดงตัวอักษรภาษาไทยได้ถูกต้อง ทั้งการพิมพ์และการแสดงผล ซึ่งหลักการนี้สามารถนำไปใช้กับโปรแกรม Terminal Client อื่นๆ ได้

Continue reading “เซ็ตฟอนต์ไทยใน PuTTY”

ติดตั้ง Sun Freeware บน Solaris

เว็บไซต์ Sunfreeware.com เป็นแหล่งรวม free software ที่ถูก compile ให้อยู่ในรูปแบบ package (.pkg)  ทำให้สะดวกต่อการติดตั้งบน Solaris  ไฟล์ที่มีให้ดาวน์โหลดมีตั้งแต่ Solaris 2.5 จนถึงเวอร์ชั่นล่าสุด Solaris 10 ทั้งสำหรับรันบนเครื่อง SPARC และ Intel (x86)

Continue reading “ติดตั้ง Sun Freeware บน Solaris”

คอมไพล์ sysbench บน Solaris 10 (x86)

บทความนี้ขอแสดงวิธีการคอมไพล์โปรแกรม sysbench บน Solaris 10 (x86) เพื่อใช้วัดประสิทธิภาพเปรียบเทียบกับ Fedora 10

ในที่นี้ขอใช้แค่เวอร์ชั่น 0.4.10 และเลือกไม่คอมไพล์รวม mysql เพื่อความง่ายในการคอมไพล์และทดสอบ เพราะการที่จะคอมไพล์ sysbench เวอร์ชั่นใหม่กว่านี้ จะติดปัญหาหลายๆ อย่าง เช่นดาวน์โหลดโปรแกรม library มาติดตั้งเพิ่มเติม เพื่อแก้ไขปัญหา libtool ที่มีการเปลี่ยนแปลงได้ อย่างไรก็ตามเรายังสามารถนำผลที่ได้มาเปรียบเทียบแบบคร่าวๆ เพราะวิธีการ benchmark ยังคงเป็นรูปแบบเดียวกัน

ดาวน์โหลดไฟล์

Continue reading “คอมไพล์ sysbench บน Solaris 10 (x86)”

เพิ่มความปลอดภัยให้ Solaris 10 แบบง่าย

วันนี้ขอเขียนเกี่ยวกับ Solaris 10 ซะหน่อย ช่วงนี้ได้รับมอบหมายให้เพิ่มความปลอดภัย (secure) ให้กับเครื่อง Solaris  แต่มีข้อแม้ไม่อยากให้ลง JASS (Solaris Security Toolkit) ก็เลยลองทำดู และเรียบเรียงมาเป็นบทความให้ผู้สนใจทั่วไป

การเพิ่มความปลอดภัยในบทความนี้  คือการปิดเซอร์วิสที่ไม่ได้ใช้งานโดยไม่กระทบกับงานที่ลูกค้าใช้  ซึ่งนอกจากจะปิดช่องโหว่ที่อาจเกิดขึ้นแล้ว ยังได้ free memory เพิ่มคืนมาอีกด้วย Continue reading “เพิ่มความปลอดภัยให้ Solaris 10 แบบง่าย”

sysbench วัดความแรงของ CPU

หลังจากที่คอมไพล์และติดตั้งโปรแกรม sysbench (คอมไพล์ sysbench บน Fedora 10) แล้ว ตอนนี้เราจะลองใช้ sysbench เพื่อทดสอบประสิทธิภาพความเร็วของ CPU (CPU Benchmark)

วิธีการใช้คำสั่ง sysbench ต้องระบุออปชั่น test ว่าเราจะทดสอบอะไร อาจระบุออปชั่นต่างๆ เพิ่มเติม เป็นค่าตัวแปรผันแปรที่ใช้ในการทดสอบ ค่าเหล่านี้จะมีค่าดีฟอลต์อยู่แล้ว ดูได้จากการรันคำสั่ง sysbench แบบไม่มีออปชั่น หรือดูจากผลลัพธ์ในการัน

การทดสอบในบทความนี้ เป็นการทดสอบ (test) CPU ให้คำนวณหาค่าจำนวนเฉพาะ (prime number)  ตั้งแต่ 1 ไปจนถึงตัวเลขมากสุดเท่ากับค่าตัวแปร cpu-max-prime ในที่นี้จะระบุ 20000 แล้วตามด้วยออปชั่น run เพื่อสั่งเริ่มการคำนวณ

โดยในแต่การทดสอบจะมีการเปลี่ยนแปลงจำนวน CPU และจำนวน Threads ที่ใช้ (num-threads) ในการคำนวณ เพื่อเปรียบเทียบผลลัพธ์ด้วย

Continue reading “sysbench วัดความแรงของ CPU”

คอมไพล์ sysbench บน Fedora 10

SysBench เป็นโปรแกรมที่ใช้วัดประสิทธิภาพ (benchmark) ของเครื่องได้หลายอย่าง ทั้ง CPU, Memory, Disk และ Database ทั้งนี้ยังสามารถระบุออปชั่นสำหรับการทดสอบได้เช่น จำนวน thread ที่รัน ขนาดที่จะทดสอบ ระยะเวลาที่ใช้ในการรัน

เราสามารถนำผลลัพธ์ที่ได้มาเปรียบเทียบเพื่อการตัดสินใจเลือกซื้อ ปรับแต่งเครื่อง หรือแก้ไขคอนฟิกให้ระบบทำงานได้ดีขึ้น

เนื่องจากในแผ่นติดั้ง หรือ จาก Fedora 10 Everything ไม่มีโปรแกรม sysbench ในรูปแบบ rpm ทำให้การที่จะใช้โปรแกรมนี้ได้ ในบทความนี้ขอนำเสนอขั้นตอนและวิธีการคอมไพล์โปรแกรม sysbench และติดตั้งเอง

Continue reading “คอมไพล์ sysbench บน Fedora 10”

ติดตั้ง OpenLDAP Server บน Fedora 10

บทความนี้ขอปรับปรุงเนื้อหาการติดตั้ง OpenLDAP Server เพื่อติดตั้งบน Fedora 10 ที่ ติดตั้ง Fedora 10 แบบประหยัดพื้นที่สุด  และเตรียมความพร้อมคอนฟิกบางส่วของเซิร์ฟเวอร์สำหรับติดตั้ง Samba และคอนฟิกเป็น Domain Controller ต่อไป

Continue reading “ติดตั้ง OpenLDAP Server บน Fedora 10”

คอนฟิก VMware Server Networks บน Windows

หลังจากสร้าง Virtual Machine ใน VMware Server ที่ประกอบด้วย CPU, Memory, Disk เรียบร้อยแล้ว อีกส่วนหนึ่งที่สำคัญคือคอนฟิก network คือ ทำอย่างไรให้เครื่อง Guest Virtual Machine ที่อยู่ข้างใน สามารถติดต่อส่งข้อมูลกับเครื่องอื่นๆ ได้ ทั้งเครื่องหลัก (Host) และเครื่องอื่นๆ เลย

โดยดีฟอลต์จากการติดตั้ง จะมีการสร้างพอร์ตแลนขึ้นมา 1 พอร์ต ในเครื่อง Guest สำหรับเชื่อมต่อกับเครื่องหลัก เราสามารถสร้างเพิ่มเติมได้ โดยคลิ้กที่ “Edit virtual machine settings” แต่ในช่วงทดลอง ทำความเข้าใจ และการใช้งานโดยทั่วไปส่วนใหญ่แล้ว พอร์ตแลยเดียวก็เพียงพอ

Continue reading “คอนฟิก VMware Server Networks บน Windows”

สร้าง Virtual Machine ใน VMware Server บน Windows XP

หลังจาก ติดตั้ง VMware Server บน Windows XP เสร็จแล้ว ขั้นตอนต่อไปคือการสร้าง Virtual Machine ขึ้นมาใน VMware Server เพื่อทำหน้าที่เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์เสมือน ไว้สำหรับทดลองใช้ลงลีนุกซ์หรือระบบปฎิบิตการอื่นๆ ได้ ไม่ว่าจะเป็น Windows เวอร์ชั่นต่างๆ หรือ Sun Solaris (x86) ได้อีกด้วย

Continue reading “สร้าง Virtual Machine ใน VMware Server บน Windows XP”

ติดตั้ง VMware Server บน Windows XP

บทความในที่เขียนไปแล้วในเว็บไซต์ส่วนใหญ่ จะเหมาะสำหรับ Linux Administrator ที่มีประสบการณ์การใช้งานลีนุกซ์มาบ้างแล้ว คือมีเซิร์ฟเวอร์ติดตั้ง สามารถใช้ Secure Shell เป็น

ความตั้งใจอีกอย่างนึงคืออยากให้ผู้ที่ไม่เคยใช้ลีนุกซ์มาก่อนเลย แต่มีความสนใจจะหัดใช้ เพียงแต่ว่าไม่รู้จะเริ่มต้นอย่างไร ใช้บทความในเว็บไซต์นี้เป็นคำแนะนำ จุดเริ่มต้นทดลอง ศึกษา

ขอเริ่มต้นด้วยการติดตั้ง VMware Server บน Windows XP ซึ่งเป็นโปรแกรมที่สามารถสร้างเครื่องจำลอง (Virtual Machine) ขึ้นมาอยู่ภายในเครื่องของเราเอง โดยเครื่องจำลอง (Guest) นี้มีความสามารถเทียบเท่ากับเครื่อง PC ทั่วไป เช่นนำมาใช้ติดตั้ง Windows, ลีนุกซ์ แยกต่างหากจากเครื่องที่เราใช้อยู่ได้ เพื่อการทดลองติดตั้งโปรแกรมต่างๆ ลงไป

Continue reading “ติดตั้ง VMware Server บน Windows XP”